บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กุมภาพันธ์, 2020

งานที่5 (ฝึกงาน)

งาน5 ในสถานที่ฝึกงานของ นศ ใช้ระบบควบคุมคุณภาพอย่างไร Quality Assurance (QA) กับ Quality Control (QC) QC (Quality Control)  หมายถึง  การควบคุมคุณภาพสินค้าให้เป็นไปตามคุณสมบัติที่กำหนดไว้  และสามารถสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้าสูงสุด ด้วยกระบวนการ Inspection คือกระบวนการการตรวจสอบตำหนิและจุดบกพร่องของผลิตภัณฑ์ เพื่อที่จะทำการส่งกลับไปแก้ไขหรือคัดทิ้ง จากนั้นจึงทำการบันทึกและเก็บสถิติของลักษณะรวมทั้งจำนวนผลิตภัณฑ์ต่างๆที่เกิดการบกพร่อง สำหรับนำไปวิเคราะห์สาเหตุปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้น แล้วจึงทำการแก้ไขปรับปรุงเพื่อให้ผู้ผลิตสามารถทำการผลิตสินค้าที่มีคุณภาพใกล้เคียงกับคุณสมบัติที่ตั้งไว้มากที่สุดต่อไป QA (Quality Assurance)  หมายถึง กระบวนการตรวจสอบและควบคุมคุณภาพของสินค้า ด้วยการวิเคราะห์หาสาเหตุข้อบกพร่องและความผิดพลาดของผลิตภัณฑ์จากเอกสาร work instructions โดยใช้แนวคิด “Do it right the first time.” มาเป็นหลักในการผลิตสินค้า ซึ่งจะเป็นกระบวนการที่แตกต่างจาก QC เนื่องจากเป็นการตรวจสอบกระบวนการผลิตตั้งแต่เริ่มต้นจากเอกสาร แทนการคัดแยกของเสียออกจากของดีในขั้นตอนสุดท้าย ที่เป็นการเพ

งานที่4 (ฝึกงาน)

งาน4 นศ มีวิธีการขัดแย้งในการทำงานร่วมกับเพื่อนร่วมงานอย่างไร เริ่มแรกเรามาทำความเข้าใจกันก่อน ความขัดแย้ง หรือ การทะเลาะกัน ไม่ใช่เรื่องเลวร้ายเสมอไป เพราะเราเป็นมนุษย์ไม่ใช่เครื่องจักร จึงเป็นเรื่องธรรมดาที่การคิดเห็นตรงข้าม ความเครียดจากสภาวะการแข่งขัน ปัญหาส่วนตัว หรือแม้กระทั่งวันที่ไม่เป็นใจ ก็สามารถนำไปสู่ความขัดแย้งในที่ทำงานได้ จึงเป็นเรื่องสำคัญที่เราควรทำความเข้าใจว่า ความขัดแย้งนั้นมีอยู่ 2 แบบ คือ ก ารทะเลาะกัน หรือ การมี ความขัดแย้งแบบสร้างสรรค์  กรณีนี้จะไม่กระทบต่อขวัญกำลังใจในการทำงาน ทั้งยังนำไปสู่แนวทางการแก้ปัญหาเชิงนวัตกรรม ส่วนใหญ่แล้วคนจะไม่มองว่ามันคือความขัดแย้ง แม้จริงๆ จะใช่ก็ตามที มุมมองที่ตรงกันข้าม ช่วงเวลาแห่งการระดมความคิด และพูดคุยเรื่องกลยุทธ์ สิ่งเหล่านี้คือความขัดแย้งเชิงสร้างสรรค์ในรูปแบบต่างๆ การทะเลาะกัน หรือความขัดแย้งแบบบั่นทอน  นี่คือสิ่งที่ส่งผลต่อการทำงาน ขวัญกำลังใจและความมีประสิทธิภาพในระยะยาว และรู้อะไรไหม หากจัดการไม่ดีแล้ว ความขัดแย้ง หรือการทะเลาะกันอย่างสร้างสรรค์ก็สามารถกลายเป็นความขัดแย้งแบบบั่นทอนได้ง่ายๆ เลย เมื่อมี

งานที่3 (ฝึกงาน)

งาน3 ในสถานที่ฝึกงานของ นศ มีกิจกรรมควบคุมความเสี่ยงอย่างไร องค์ประกอบรายงานการวิเคราะห์ความเสี่ยง การจัดท ารายงานการวิเคราะห์ความเสี่ยงจากอันตรายที่อาจเกิดจากการประกอบกิจการ โรงงาน ต้องประกอบด้วยองค์ประกอบอย่างน้อย ดังต่อไปนี้ 1. ข้อมูลทั่วไปของโรงงาน 2. แผนที่แสดงที่ตั้งโรงงาน รวมทั้งสถานที่ต่าง ๆ เช่น ที่พักอาศัย โรงงาน โรงเรียน โรงพยาบาล สถาบันการศึกษา เส้นทางจราจร และชุมชนใกล้เคียง ในระยะ 500 เมตร โดยรอบ 3. แผนผังรวมที่แสดงต าแหน่งของโรงงาน ที่อาจก่อให้เกิดอุบัติภัยร้ายแรง เช่น การเกิด เพลิงไหม้ การระเบิด การรั่วไหลสารเคมีหรือวัตถุอันตราย ในกรณีที่มีหลายโรงงานอยู่ในบริเวณเดียวกัน 4. แผนผังโรงงานขนาดมาตราส่วน 1 : 100 หรือขนาดที่เหมาะสม แสดงรายละเอียดการ ติดตั้ง เครื่องจักร สถานที่เก็บวัตถุดิบ เชื้อเพลิง สารเคมีหรือวัตถุอันตราย ผลิตภัณฑ์ และวัตถุพลอยได้ ที่พักคนงาน โรงอาหาร อุปกรณ์และเครื่องมือเกี่ยวกับความปลอดภัย และสิ่งอื่น ๆ ที่มีความส าคัญต่อการ เกิด การป้องกัน หรือการควบคุมเพลิงไหม้ การระเบิด การรั่วไหลของสารเคมีหรือวัตถุอันตราย (กรณีผู้ประกอบกิจการขออนุญาตขยายโรงงานจะต้

งานที่2 (ฝึกงาน)

รูปภาพ
งาน2 ในสถานที่ฝึกงานของ นศ มีการเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กอย่างไร และน นศ มีส่วนร่วมอย่างไร การเต้น แอโรบิค ก่อนเริ่มปฎิบัติงาน     มีการเต้นแอโรบิคก่อนเริ่มปฎิบัติเพื่อให้พนักงานได้ออกกำลังกายก่อนเริ่มปฎิบัติงานทำให้พนักงานสดชื้นแจ่มใสก่อนการทำงานทำให้ประสิทธิภาพในการทำงานดีขึ้นอย่างเห็นได้ชัด นักศึกษาได้ปฎิบัติตามด้วยเช่นกัน *ภาพไม่สามรถถ่ายได้ครับ วิธีการเพิ่มประสิทธิภาพในองค์การทั้ง  3  วิธีการข้างต้น จะต้องขับเคลื่อนด้วยทรัพยากรบุคคลที่มีคุณภาพ โดยเฉพาะ นิสัยแห่งคุณภาพทั้ง  7  ประการ ดังนี้                                 1.  ความเป็นระเบียบเรียบร้อย                                  2.  การทำงานเป็นทีม                                  3.  การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง                                  4.  การมุ่งที่กระบวนการ                                  5.  การศึกษาและฝึกอบรม                                  6.  การประกันคุณภาพ                                  7.  การส่งเสริมให้พนักงานมีส่วนร่วมกลยุทธ์การบริหารคุณภาพ เป็นเพียงการนำเสนอ ดังนี้  (1)  วงจร  PDCA