งาน ปฎิบัติ 5 รับลิงก์ Facebook X Pinterest อีเมล แอปอื่นๆ สิงหาคม 20, 2561 จอ LCD wiring diagram Code 1 #include <LiquidCrystal.h> LiquidCrystal lcd(12, 10, 4, 5, 6, 7); งาน ปฎิบัติ 5 จอ LCD void setup() { lcd.begin(16, 2); lcd.print("PLAUM"); lcd.setCursor(0, 1); lcd.print("ITTIWAT"); } void loop() { } รับลิงก์ Facebook X Pinterest อีเมล แอปอื่นๆ ความคิดเห็น
งานที่3 (ฝึกงาน) กุมภาพันธ์ 19, 2563 งาน3 ในสถานที่ฝึกงานของ นศ มีกิจกรรมควบคุมความเสี่ยงอย่างไร องค์ประกอบรายงานการวิเคราะห์ความเสี่ยง การจัดท ารายงานการวิเคราะห์ความเสี่ยงจากอันตรายที่อาจเกิดจากการประกอบกิจการ โรงงาน ต้องประกอบด้วยองค์ประกอบอย่างน้อย ดังต่อไปนี้ 1. ข้อมูลทั่วไปของโรงงาน 2. แผนที่แสดงที่ตั้งโรงงาน รวมทั้งสถานที่ต่าง ๆ เช่น ที่พักอาศัย โรงงาน โรงเรียน โรงพยาบาล สถาบันการศึกษา เส้นทางจราจร และชุมชนใกล้เคียง ในระยะ 500 เมตร โดยรอบ 3. แผนผังรวมที่แสดงต าแหน่งของโรงงาน ที่อาจก่อให้เกิดอุบัติภัยร้ายแรง เช่น การเกิด เพลิงไหม้ การระเบิด การรั่วไหลสารเคมีหรือวัตถุอันตราย ในกรณีที่มีหลายโรงงานอยู่ในบริเวณเดียวกัน 4. แผนผังโรงงานขนาดมาตราส่วน 1 : 100 หรือขนาดที่เหมาะสม แสดงรายละเอียดการ ติดตั้ง เครื่องจักร สถานที่เก็บวัตถุดิบ เชื้อเพลิง สารเคมีหรือวัตถุอันตราย ผลิตภัณฑ์ และวัตถุพลอยได้ ที่พักคนงาน โรงอาหาร อุปกรณ์และเครื่องมือเกี่ยวกับความปลอดภัย และสิ่งอื่น ๆ ที่มีความส าคัญต่อการ เกิด การป้องกัน หรือการควบคุมเพลิงไหม้ การระเบิด การรั่วไหลของสารเคมีหรือวัตถุอันตราย (กรณีผู้ประกอบกิจการขออนุญาตขยายโรงงานจะต้ อ่านเพิ่มเติม
งานที่4 (ฝึกงาน) กุมภาพันธ์ 19, 2563 งาน4 นศ มีวิธีการขัดแย้งในการทำงานร่วมกับเพื่อนร่วมงานอย่างไร เริ่มแรกเรามาทำความเข้าใจกันก่อน ความขัดแย้ง หรือ การทะเลาะกัน ไม่ใช่เรื่องเลวร้ายเสมอไป เพราะเราเป็นมนุษย์ไม่ใช่เครื่องจักร จึงเป็นเรื่องธรรมดาที่การคิดเห็นตรงข้าม ความเครียดจากสภาวะการแข่งขัน ปัญหาส่วนตัว หรือแม้กระทั่งวันที่ไม่เป็นใจ ก็สามารถนำไปสู่ความขัดแย้งในที่ทำงานได้ จึงเป็นเรื่องสำคัญที่เราควรทำความเข้าใจว่า ความขัดแย้งนั้นมีอยู่ 2 แบบ คือ ก ารทะเลาะกัน หรือ การมี ความขัดแย้งแบบสร้างสรรค์ กรณีนี้จะไม่กระทบต่อขวัญกำลังใจในการทำงาน ทั้งยังนำไปสู่แนวทางการแก้ปัญหาเชิงนวัตกรรม ส่วนใหญ่แล้วคนจะไม่มองว่ามันคือความขัดแย้ง แม้จริงๆ จะใช่ก็ตามที มุมมองที่ตรงกันข้าม ช่วงเวลาแห่งการระดมความคิด และพูดคุยเรื่องกลยุทธ์ สิ่งเหล่านี้คือความขัดแย้งเชิงสร้างสรรค์ในรูปแบบต่างๆ การทะเลาะกัน หรือความขัดแย้งแบบบั่นทอน นี่คือสิ่งที่ส่งผลต่อการทำงาน ขวัญกำลังใจและความมีประสิทธิภาพในระยะยาว และรู้อะไรไหม หากจัดการไม่ดีแล้ว ความขัดแย้ง หรือการทะเลาะกันอย่างสร้างสรรค์ก็สามารถกลายเป็นความขัดแย้งแบบบั่นทอนได้ง่ายๆ เลย เมื่อมี อ่านเพิ่มเติม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับไมโครคอนโทรลเลอร์ พฤษภาคม 22, 2561 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับไมโครคอนโทรลเลอร์ ไมโครคอนโทรลเลอร์ถูกนำไปใช้ในระบบสมองกลฝังตัว คือ ระบบคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่ถูกซ่อนอยู่ภายในเครื่องจักรกล เครื่องใช้ไฟฟ้า กลไกขนาดเล็กที่ควบคุมด้วยอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อเพิ่มความชาญฉลาด หรือ เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานของเครื่องมือ ระบบสมองกลฝังตัวประกอบด้วย HARDWARE และ SOFTWARE ที่ทำงานร่วมกัน มีชื่อเรียกอย่างอื่นอีก เช่น smart devices (อุปกรณ์นำสมัย) , intelligent (ระบบชาญฉลาด , ระบบปัญญาประดิษฐ์) หรือ automated equipment (ผลิตภัณฑ์อัตโนมัติ) เป็นต้น 1. หน่วยประมวลผลกลางหรือซีพียู (CPU : Central Processing Unit) ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางควบคุมการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ทั้งหมด โดยนำข้อมูลจากอุปกรณ์รับข้อมูลมาทำงาน ประมวลผลข้อมูลตามคำสั่งของโปรแกรม และส่งผลลัพธ์ออกไปหน่วยแสดงผล 2. หน่วยความจำ (Memory) สามารถแบ่งออกเป็น ส่วน คือ หน่วยความจำที่มีไว้สำหรับเก็บโปรแกรมหลัก (Program Memory) เปรียบเสมือนฮาร์ดดิสก์ของ เครื่องคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ คือข้อมูลใดๆ ที่ถูกเก็บไว้ในนี้จะไม่สูญหายไปแม้ไม่มีไฟเลี้ยง อีกส่วนหนึ อ่านเพิ่มเติม